XTBG OpenIR  > Integrative Conservation
Between conflict and coexistence: Wildlife in rubber‐dominated landscapes
Harich‐Wloka, Franziska K.; Treydte, Anna C.; Ogutu, Joseph O.; Savini, Chution; Sribuarod, Kriangsak; Savini, Tommaso
2023
Source PublicationIntegrative Conservation
ISSN2770-9329
Volume2Issue:4Pages:240-254
Abstract

Abstract The continuing loss and degradation of their natural habitats forces some wildlife species to increasingly extend their habitats into farmlands, thereby intensifying conflicts with people as resources diminish. Despite massive expansion in rubber ( Hevea brasiliensis ) plantations in recent decades, little is known about the diversity and distribution of wild mammals in rubber‐dominated landscapes or the associated human‐wildlife conflicts. We assessed the presence and diversity of mammalian wildlife and damage occurrence in such rubber landscapes in southern Thailand, in and around Tai Rom Yen National Park. We interviewed 180 farmers about wildlife visits to their farms and the resulting damage. We conducted 50 transect walks within and adjacent to a natural forest and deployed camera traps at the boundary between the plantations and the forest, as well as deeper into the forest, to assess wildlife presence. A total of 35 mammal species were recorded inside the forest. More than 70% of these were also present at the forest boundary, but species presence and diversity were far lower in the farmland. Elephants ( Elephas maximus ) were responsible for 90% of wildlife damage incidents within the rubber plantations, with 86% of these cases affecting young plants that had not yet been tapped. Although almost half of the survey respondents reported elephants visiting their farms, less than half of them reported damage. These results suggest that rubber‐dominated landscapes surrounding protected areas have the potential to facilitate coexistence between people and certain wildlife species, particularly if young plants are better protected and plantation management is made more wildlife friendly. 摘要 由于自然栖息地的不断丧失和退化,以及随之可获取资源的减少,一些野生动物被迫将其栖息地延伸至农田,从而加剧了与人类的冲突。尽管近几十年来有相当量的野生动物栖息于橡胶林地( Hevea brasiliensis ),但在橡胶林为主导的景观中野生哺乳动物的多样性、分布以及人兽冲突等方面,目前仍知之甚少。因此,本研究选择了泰国南部Tai Rom Yen国家公园内外的橡胶林地为研究区,对研究区内野生哺乳动物的多样性以及它们对农田的肇事损坏情况进行了评估。我们通过对180名农民进行访谈,了解野生动物到访农地并造成的损坏情况。此外,还在一处天然林内及周边进行了50次样线行走,并在橡胶林和天然林的边界以及天然林深处分别布设了相机,以评估野生动物的出没情况。天然林内共发现35种哺乳动物,其中70%以上也出现在天然林和橡胶林边界,但农田中出没的哺乳动物多样性和出现次数最低。橡胶林地内发生的野生动物肇事破坏事件中90%是由大象造成的,其中的86%破坏的是尚未开割的橡胶幼龄树。尽管近半数的调查对象称大象曾到访过他们的农地,但发生损坏的不到一半。以上结果表明,保护区周边的橡胶林具有成为人类与某些野生动物的共存栖息地的潜力,尤其是如果能保护好橡胶幼龄树,并采取对野生动物更加友好的管理措施,将进一步提升橡胶林保护野生动物的潜力。【审阅:翟得利】 บทคัดย่อ ความสูญเสียและการทำลายของพื้นที่ธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง ทำให้สัตว์ป่าบางชนิดต้องขยายพื้นที่อาศัยไปในพื้นที่เกษตรกรรมมากขึ้น ทำให้เกิดความขัดแย้งกับประชากรมนุษย์ที่เพิ่มมากขึ้นและทรัพยากรลดลง ถึงแม้จะมีการขยายตัวของพื้นที่เกษตรกรรมสวนยางพารา ( Hevea brasiliensi s) อย่างมากในสิบกว่าปีที่ผ่านมา แต่ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอเกี่ยวกับความหลากหลายและการกระจายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในพื้นที่สวนยางพารา หรือปัญหาความขัดแย้งระหว่างมนุษย์และสัตว์ป่า ในงานวิจัยนี้ เราได้ทำการประเมินการปรากฏและความหลากหลายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและการเกิดความเสียหายในพื้นที่สวนยางพาราบริเวณรอบๆ อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็นในภาคใต้ของประเทศไทย เราได้สัมภาษณ์เกษตรกรจำนวน 180 คนเกี่ยวกับการเข้าพื้นที่เกษตรกรรมและเกิดความเสียหาย มีการสำรวจตามเส้นทางจำนวน 50 เส้นทาง (line transect) ทั้งในป่าและขอบป่าธรรมชาติและติดตั้งกล้องตามขอบเขตระหว่างสวนยางพาราและป่าธรรมชาติ และพื้นที่ลึกเข้าไปเพื่อประเมินการปรากฏของสัตว์ป่าซึ่งพบว่ามีจำนวน 35 ชนิด พบว่ามากกว่า 70% ของทั้งหมดปรากฏบริเวณขอบป่า แต่การปรากฏของชนิดพันธุ์พันธุ์และความหลากหลายต่ำกว่าในพื้นที่เพาะปลูก ช้าง ( Elephas maximus ) ทำให้เกิดความเสียหายของการทำลายสวนยางถึง 90% และทำลายต้นอ่อนจำนวน 86% อย่างไรก็ตาม ในขณะที่จำนวนเกือบครึ่งของผู้ตอบแบบสำรวจทุกคนมีช้างเข้าในพื้นที่ แต่น้อยกว่าครึ่งของจำนวนทั้งหมดมีการรายงานความเสียหาย ผลการวิจัยเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า พื้นที่เกษตรกรรมที่เป็นสวนยางพารารอบๆ พื้นที่อนุรักษ์น่าจะมีบทบาทในการช่วยเรื่องการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์และสัตว์ป่าบางชนิดเนื่องจากการป้องกันต้นอ่อนชนิดต่างๆและการจัดการพื้นที่เพาะปลุกได้เกิดการจัดการจะทำให้เกิดความเป็นมิตรกับสัตว์ป่ามากขึ้น Plain language summary The loss of natural habitat forces some wildlife species to extend their habitats into farmlands. This often leads to increasing conflicts with people as wild animals consume or damage cultivated crops. However, there is limited information on how rubber cultivation affects wild mammal species. To fill this gap in our knowledge, we carried out a study to better understand how rubber plantations affect wildlife in Thailand. Our results showed that species’ presence and diversity were far lower in the farmland compared with the adjacent natural forest. Moreover, >70% of the wildlife species found in the forest were also present at the forest‐farmland boundary. Elephants were responsible for 90% of the damage incidents in the rubber plantations, with the majority of this damage restricted to young plants. While almost half of all the respondents experienced elephants visiting their farm, less than half reported any damage. These findings suggest that rubber plantations located near protected areas have the potential to facilitate coexistence between people and certain wildlife species. This is contingent upon young plants being better protected and plantation management becoming more wildlife friendly. 通俗语言摘要 自然栖息地的丧失迫使一些野生动物从自然栖息地走向农田。由于野生动物食用或破坏农作物,致使人兽冲突不断增加。然而,关于橡胶林大量种植对野生哺乳动物影响的相关研究十分有限。因此,为了填补这一知识空白,我们在泰国开展了一项研究,以更好地了解橡胶林大量种植如何影响野生动物。研究结果表明,农田中的野生动物多样性及出没次数远低于邻近的天然林。此外,研究发现有70%以上的出现在天然林中的野生动物也会出现在天然林与农田的交界处。橡胶林内发生的动物破坏事件90%是由大象造成的,主要破坏橡胶幼树。虽然近半数的的受访者曾经历大象到访他们的农地,但发生损坏的则不到一半。以上研究结果表明,位于保护区周边的橡胶林地有可能成为潜在的促进人类与某些野生动物共存的栖息地。该栖息地的成功与否取决于橡胶幼龄树能否得到更好的保护,以及橡胶林地的管理是否对野生动物更加友好。 Practitioner points Mammalian species richness and average species presence were much lower in the rubber‐dominated farmland than in the adjacent natural forest. More than 70% of forest wildlife species were found close to the forest‐farmland boundary. This gives some hope that, given a more wildlife‐friendly and low‐risk plantation management strategy, rubber farmlands outside protected areas may serve as extended habitats for some wild mammals, for example, by leaving some natural vegetation for wildlife to feed on and for cover on the farms and hence softening the forest‐farmland edge. Elephants were responsible for 90% of the damage incidents in the rubber plantations, but as rubber is very rarely consumed and the damage was restricted almost exclusively to young plants, one key strategy for ensuring peaceful coexistence between people and elephants in rubber‐dominated areas lies in the protection of young trees. 实践者要点 在以橡胶林为主导景观的农田中,哺乳动物的多样性及出现次数远低于毗邻的天然林。 超过70%的野生动物出现在天然林和农田的边界附近。这给在人工林主导景观下的野生动物保护带来了一些希望。如果采取对野生动物更加友好的低风险管理策略,保护区周边的橡胶林地可能会成为一些野生哺乳动物的潜在栖息地,例如,在农田中保留一定的天然植被为野生动物提供食物和遮蔽,以及弱化天然林和农田的边界等。 在橡胶林地内发生的破坏事件中,有90%是大象所为,但由于橡胶很少被大象食用,而且破坏的几乎都是幼龄树,因此在以橡胶树种植为主的地区,确保人象和平共处的关键是保护橡胶幼龄树。 เสนอแนะสำหรับผู้ปฏิบัติงาน ความมากชนิดของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและจำนวนชนิดพันธุ์ที่ปรากฏโดยเฉลี่ยแสดงให้เห็นว่ามีค่าต่ำในพื้นที่สวนยางพาราเมื่อเทียบกับพื้นที่ขอบป่าธรรมชาติ มากกว่า 70% ของชนิดพันธุ์สัตว์ในป่าถูกพบใกล้กับขอบป่า ทำให้เกิดความหวังว่าหากมีกลยุทธ์การจัดการพื้นที่ป่าสวนยางพาราเพื่อความเป็นมิตรต่อสัตว์ป่า จะทำให้เกิดความเสี่ยงต่ำ สวนยางพาราที่อยู่นอกพื้นที่ที่ได้รับการคุ้มครองอาจเป็นที่อาศัยที่ขยายตัวสำหรับสัตว์ป่าบางชนิด เช่นโดยปล่อยให้มีพืชธรรมชาติบางส่วน และสำหรับสัตว์ป่าในการหาอาหารและเป็นที่หลบภัยบริเวณขอบป่า ช้างทำให้เกิดความเสียหายถึง 90% ของพืชชนิดอื่นๆในสวนยางพารา แต่เนื่องจากช้างไม่กินยางพารา ความเสียหายจึงจำกัดเฉพาะในต้นไม้เล็กเกือบทั้งหมด หนึ่งในกลยุทธ์สำคัญในการสร้างการอยู่ร่วมกันของมนุษย์และช้างในพื้นที่ที่มีการปลูกยางคือการคุ้มครองต้นอ่อน สรุปเนื้อหา ความสูญเสียและการทำลายของพื้นที่ธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง ทำให้สัตว์ป่าบางชนิดต้องขยายพื้นที่อาศัยไปในพื้นที่เกษตรกรรมมากขึ้น ทำให้เกิดความขัดแย้งกับประชากรมนุษย์ที่เพิ่มมากขึ้นและทรัพยากรลดลง ถึงแม้จะมีการขยายตัวของพื้นที่เกษตรกรรมสวนยางพารา (Hevea brasiliensis) อย่างมากในสิบกว่าปีที่ผ่านมา แต่ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอเกี่ยวกับความหลากหลายและการกระจายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในพื้นที่สวนยางพารา หรือปัญหาความขัดแย้งระหว่างมนุษย์และสัตว์ป่า ในงานวิจัยนี้ เราได้ทำการประเมินการปรากฏและความหลากหลายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและการเกิดความเสียหายในพื้นที่สวนยางพาราบริเวณรอบๆ อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็นในภาคใต้ของประเทศไทย เราได้สัมภาษณ์เกษตรกรจำนวน 180 คนเกี่ยวกับการเข้าพื้นที่เกษตรกรรมและเกิดความเสียหาย มีการสำรวจตามเส้นทางจำนวน 50 เส้นทาง (line transect) ทั้งในป่าและขอบป่าธรรมชาติและติดตั้งกล้องตามขอบเขตระหว่างสวนยางพาราและป่าธรรมชาติ และพื้นที่ลึกเข้าไปเพื่อประเมินการปรากฏของสัตว์ป่าซึ่งพบว่ามีจำนวน 35 ชนิด พบว่ามากกว่า 70% ของทั้งหมดปรากฏบริเวณขอบป่า แต่การปรากฏของชนิดพันธุ์พันธุ์และความหลากหลายต่ำกว่าในพื้นที่เพาะปลูก ช้าง (Elephas maximus) ทำให้เกิดความเสียหายของการทำลายสวนยางถึง 90% และทำลายต้นอ่อนจำนวน 86% อย่างไรก็ตาม ในขณะที่จำนวนเกือบครึ่งของผู้ตอบแบบสำรวจทุกคนมีช้างเข้าในพื้นที่ แต่น้อยกว่าครึ่งของจำนวนทั้งหมดมีการรายงานความเสียหาย ผลการวิจัยเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า พื้นที่เกษตรกรรมที่เป็นสวนยางพารารอบๆ พื้นที่อนุรักษ์น่าจะมีบทบาทในการช่วยเรื่องการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์และสัตว์ป่าบางชนิดเนื่องจากการป้องกันต้นอ่อนชนิดต่างๆและการจัดการพื้นที่เพาะปลุกได้เกิดการจัดการจะทำให้เกิดความเป็นมิตรกับสัตว์ป่ามากขึ้น

DOIhttps://onlinelibrary.wiley.com/doi/pdfdirect/10.1002/inc3.32
Citation statistics
Document Type期刊论文
Identifierhttps://ir.xtbg.ac.cn/handle/353005/14386
CollectionIntegrative Conservation
Affiliation1.Harich‐Wloka, Franziska K. (Department of Ecology of Tropical Agricultural Systems, University of Hohenheim, Stuttgart, Germany)
2.Treydte, Anna C. (Department of Ecology of Tropical Agricultural Systems, University of Hohenheim, Stuttgart, Germany
3.Department of Biodiversity Conservation and Ecosystem Management, School of Life Sciences and Bioengineering, Nelson Mandela African Institution of Science and Technology, Arusha, Tanzania
4.Department of Physical Geography, Stockholm University, Stockholm, Sweden)
5.Ogutu, Joseph O. (Biostatistics Unit, Institute of Crop Science, University of Hohenheim, Stuttgart, Germany)
6.Savini, Chution (International College for Sustainability Studies, Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand)
7.Sribuarod, Kriangsak (Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation, Khlong Saeng Wildlife Research Station, Surat Thani, Thailand)
8.Savini, Tommaso (Conservation Ecology Program, King Mongkut's University of Technology, Thonburi, Thailand)
Recommended Citation
GB/T 7714
Harich‐Wloka, Franziska K.,Treydte, Anna C.,Ogutu, Joseph O.,等. Between conflict and coexistence: Wildlife in rubber‐dominated landscapes[J]. Integrative Conservation,2023,2(4):240-254.
APA Harich‐Wloka, Franziska K.,Treydte, Anna C.,Ogutu, Joseph O.,Savini, Chution,Sribuarod, Kriangsak,&Savini, Tommaso.(2023).Between conflict and coexistence: Wildlife in rubber‐dominated landscapes.Integrative Conservation,2(4),240-254.
MLA Harich‐Wloka, Franziska K.,et al."Between conflict and coexistence: Wildlife in rubber‐dominated landscapes".Integrative Conservation 2.4(2023):240-254.
Files in This Item: Download All
File Name/Size DocType Version Access License
Between conflict and(1068KB)期刊论文作者接受稿开放获取CC BY-NC-SAView Download
Related Services
Recommend this item
Bookmark
Usage statistics
Export to Endnote
Google Scholar
Similar articles in Google Scholar
[Harich‐Wloka, Franziska K.]'s Articles
[Treydte, Anna C.]'s Articles
[Ogutu, Joseph O.]'s Articles
Baidu academic
Similar articles in Baidu academic
[Harich‐Wloka, Franziska K.]'s Articles
[Treydte, Anna C.]'s Articles
[Ogutu, Joseph O.]'s Articles
Bing Scholar
Similar articles in Bing Scholar
[Harich‐Wloka, Franziska K.]'s Articles
[Treydte, Anna C.]'s Articles
[Ogutu, Joseph O.]'s Articles
Terms of Use
No data!
Social Bookmark/Share
File name: Between conflict and coexistence Wildlife in rubber?dominated landscapes.pdf
Format: Adobe PDF
This file does not support browsing at this time
All comments (0)
No comment.
 

Items in the repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.