Institutional Repository of Xishuangbanna Tropical Botanical Garden
Spatio‐temporal dynamics of human−elephant conflict in a valley of pineapple plantations | |
Kochprapa, Poldej; Savini, Chution; Ngoprasert, Dusit; Savini, Tommaso; Gale, George A. | |
2023 | |
Source Publication | Integrative Conservation
![]() |
ISSN | 2770-9329 |
Volume | 2Issue:2Pages:95-107 |
Abstract | Abstract Human−elephant conflict (HEC) is a major conservation challenge negatively impacting elephant populations and local agricultural livelihoods. Studies of drivers and spatiotemporal patterns of HEC have potential to indicate where mitigation actions should be prioritized with the goal of achieving long‐term coexistence. We examined temporal and spatial patterns of elephant crop raiding adjacent to Kuiburi National Park in southern Thailand by assessing locations of elephant raids in conjunction with multiple environmental variables along with crop characteristics and crop availability. Raiding incidents primarily happened in pineapple plantations, however compositional analysis suggested that fruit orchards were most preferred by elephants probably reflecting the high frequency of raiding in orchards relative to their small spatial area. Logistic regression models predicted that crop type and crop maturity stage, distance to forest and mitigation strategy combined had the strongest support in explaining the probability of crop raiding. Relative probability of raiding appeared to be associated with crop accessibility for elephants and perhaps crop nutrient value, with orchards with ripe fruit being most raided, while oil palm the least. The most frequently used mitigation measure was guarding by local people and could lower the probability when compared with other mitigations, although the relative effectiveness did not show a clear pattern; local guarding, patrolling by park rangers and physical barriers appeared to have some benefit but elephant‐preferred crops still had >40% chance of being raided. Other results also indicated that water availability and season were not associated with elephant raiding, but rather crop type/crop stage had the most influence. The surprising lack of seasonality was likely due to the availability of the elephant's preferred crops year‐round. Finally, our results indicated that there is no zone in Kuiburi that is free from elephant raiding, leaving the entire community vulnerable. We recommend improvements in the mitigation measures through better coordination among stakeholders in such communities and development of concrete action plans for all stakeholders including an extensive market‐based examination of the feasibility of growing crops less preferred by elephants. 摘要 人象冲突(Human‐elephant conflict, HECHEC)对于保护工作是一项严峻的挑战,会对大象种群及当地农业生计产生负面影响。研究人象冲突的驱动因素及时空模式,有助于确定优先采取的缓解措施,以实现人象长期共存的目标。本文以泰国南部奎武里国家公园附近地区为研究区域,通过评估大象取食作物的位置与多个环境变量、作物特征以及作物可及性,分析了大象取食作物的时空模式。研究结果显示,大象取食事件主要发生在菠萝种植园;但组成分析显示,果园(芒果、菠萝蜜和香蕉)是大象最喜欢的地方,这可能反映出相对于其较小的空间面积,果园被取食的频率较高。逻辑回归模型预测,作物类型和成熟阶段、到森林的距离以及缓解策略在解释取食的概率方面提供强力支持。大象取食的相对概率可能与作物的可及性和营养价值有关;果园中成熟的果实最易被大象取食,油棕园最不容易被取食。相比于其他缓解措施,当地人看护的效果最好,但各项措施的有效性未呈现出明显的规律。当地人看护、管理员巡逻和物理屏障似乎也有一定效果,但大象喜食的作物仍有40%的概率被大象取食。研究还发现,大象取食与水源和季节无关,而受作物类型和成熟阶段的影响最大。这可能是因为大象喜实的作物全年都有供应,所以缺乏明显的季节性。最后,研究结果显示,整个奎武里地区均不能免受大象取食的影响,表明该区域易发生人象冲突。研究建议该地区各利益相关方之间加强协调,改进缓解措施,并为所有利益相关方制定具体的行动计划,包括对种植大象不喜食的作物的可行性进行广泛的市场调研。[审校:谷昊] บทคัดย่อ ความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่า (Human‐elephant conflict, HEC) เป็นปัญหาที่สำคัญต่อการอนุรักษ์ประชากรช้างป่าและความเป็นอยู่ของชุมชนท้องถิ่นที่ทำการเกษตรเป็นอย่างมาก การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างเชิงพื้นที่และเวลา เพื่อจำแนกปัจจัยที่ส่งผลต่อการบุกรุกของช้างป่าในพื้นที่เกษตรกรรมรอบอุทยานแห่งชาติกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ทางโซนใต้ของประเทศไทย ซึ่งจะช่วยลำดับความสำคัญในการประเมินการใช้แผนบรรเทาปัญหา เพื่อสร้างแนวทางการอยู่ร่วมกันของคนและสัตว์ป่า ในการศึกษานี้คณะผู้วิจัยมีการสำรวจรูปแบบของการบุกรุกที่เกิดขึ้นจากช้างป่ากับพื้นที่เกษตรกรรม งานวิจัยได้ทำการประเมินพื้นที่ที่เกิดปัญหาการบุกรุกและทำลายจากช้างป่า พร้อมทั้งศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องทางนิเวศวิทยา รวมถึงลักษณะของผลผลิตที่ได้รับผลกระทบจากช้างป่า จากการศึกษาพบว่าการบุกรุกเกิดขึ้นบ่อยที่สุดในพื้นที่เกษตรกรรมที่ปลูกสับปะรดเป็นหลัก อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์องค์ประกอบของพื้นที่ (Compositional Analysis) แสดงให้เห็นว่าสวนผลไม้ (เช่น มะม่วง ขนุน กล้วย) เป็นพืชผลที่ช้างป่ากินและทำลายมากที่สุด ข้อมูลแสดงให้เห็นว่าการบุกรุกในสวนผลไม้มีความถี่มากกว่าเมื่อเทียบกับพื้นที่ทั้งหมดของสวนผลไม้ที่มีขนาดพื้นที่ปลูกน้อยกว่าการปลูกพืชชนิดอื่นๆจากการวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอยโลจีสติก (Logistic regression models) พบว่าประเภทชนิดพันธุ์ที่ปลูกช่วงระยะเจริญเติบโตของพืช ระยะทางห่างจากชายขอบป่า และวิธีการผลักดันหรือป้องกันช้างที่ใช้ในชุมชน เป็นปัจจัยหลักในการอธิบายโอกาสความน่าจะเป็นของการบุกรุกของช้างป่าในพื้นที่เกษตรกรรมรอบอุทยานแห่งชาติกุยบุรี ความน่าจะเป็นของการบุกรุกพื้นที่มีความสัมพันธ์กับการเข้าถึงพืชผลของช้างป่า และอาจเกี่ยวข้องกับสารอาหารในผลไม้เนื่องจากผลไม้ที่สุกแล้วถูกบุกรุกมากที่สุด ในขณะที่พื้นที่ปาล์มน้ำมันมีการบุกรุกน้อยที่สุด วิธีการบรรเทาปัญหาที่ใช้บ่อยที่สุดคือการเฝ้าระวังโดยคนในชุมชน ซึ่งเป็นวิธีการที่สามารถลดการบุกรุกของช้างป่าได้เมื่อเทียบกับมาตรการอื่น ทั้งนี้จากผลการวิเคราะห์ยังไม่พบวิธีการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามการเฝ้าระวังของคนในชุมชน การออกลาดตระเวนของเจ้าหน้าที่อุทยานฯ และการสร้างสิ่งกีดขวาง พบว่าเป็นปัจจัยรองต่อความสามารถในการบรรเทาปัญหา แต่ก็ยังมีโอกาสที่ช้างจะบุกรุกพื้นที่มากกว่า 40% นอกจากนั้นผลการวิจัยยังพบว่าแหล่งน้ำและฤดูฝน‐แล้ง ไม่มีความสัมพันธ์กับการบุกรุกของช้าง แต่เป็นชนิดพันธุ์พืชที่ปลูกและระยะการเจริญเติบโตของพืชที่สามารถคาดการณ์โอกาสการบุกรุกของช้างมากที่สุด การที่ฤดูกาลไม่สามารถอธิบายการบุกรุกของช้างป่าได้ อาจเกิดจากการปลูกพืชที่สามารถเป็นอาหารของช้างได้ตลอดปีในพื้นที่ สุดท้ายนี้ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าที่ปลอดภัยจากการบุกรุกของช้างป่าในพื้นที่ชุมชนรอบอุทยานแห่งชาติกุยบุรีมีปริมาณจำกัด ซึ่งทำให้พื้นที่การใช้ประโยชน์ในชุมชนทั้งหมดอยู่ในสภาวะที่มีความเสี่ยงต่อการบุกรุกของช้างป่า ดังนั้นข้อเสนอแนะจากการวิจัยในการปรับปรุงมาตรการแก้ปัญหาเพื่อลดผลกระทบที่เกิดจากลดปัญหาช้างป่าเข้าพื้นที่ คือการปรับปรุงวิธีการผลักดันช้างด้วย การลาดตระเวนอย่างเป็นระบบโดยการสร้างแนวทางการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาครัฐและชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากช้างป่า พร้อมทั้งพัฒนาแผนการจัดการอย่างเป็นรูปธรรม โดยพิจารณาแนวทางการพัฒนาแผนการจัดการทั้งระยะสั้นและระยะยาว การดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้กำหนดนโยบายเพื่อการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนและลดผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างให้มากที่สุด เช่นการสำรวจความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนชนิดพันธุ์พืชที่ไม่ดึงดูดการเข้าพื้นที่ของช้างป่า การปรับเปลี่ยนแนวทางการเกษตรและอาชีพทางเลือกที่มีความเป็นไปได้ และตรงตามบริบทชุมชน และทางเลือกแผนบรรเทาปัญหาต่างๆในการแก้ปัญหาระยะสั้นในพื้นที่ชุมชนการเกษตร มีความเป็นไปได้ในการบรรเทาปัญหาจากช้างป่าในพื้นที่ Plain language summary This is a study of the spatiotemporal patterns of Human‐Elephant conflict in a community area adjacent to Kuiburi National Park, southern Thailand. We examined temporal and spatial patterns of elephant crop raiding by assessing the locations of elephant raids in conjunction with environmental factors along with crop characteristics and crop availability. Raiding incidents primarily happened in pineapple plantations; however, compositional analysis suggested that fruit orchards were the most preferred by elephants. Logistic regression models predicted that crop type/crop stage, distance to forest and mitigation strategy combined had the strongest support in explaining the probability of crop raiding. The most frequently used mitigation measure was guarding by local people, although the relative effectiveness did not show a clear pattern. Other results also indicated that water availability and season were not associated with elephant raiding. Our study also indicates that there is no zone in Kuiburi that is free from elephant raiding which cause the current state of this area to be critical and unsustainable. We recommend improvements in the mitigation measures through better coordination and development of action plans including an examination of the feasibility of growing crops less preferred by elephants. 简明语言摘要 本研究以泰国南部奎武里国家公园附近地区为研究区域,通过分析大象取食的位置与环境因素、作物特征和作物可及性,研究了该地区人象冲突的时空模式。大象取食事件主要发生在菠萝种植园,然而,组成分析表明,果园(芒果、菠萝蜜和香蕉)是大象最喜欢的地方。逻辑回归模型预测,作物类型和成熟阶段、到森林的距离,以及缓解措施对解释大象取食的概率提供最强支持。最常用的缓解措施是由当地人看护,尽管其相对效果未呈现出明显的模式。研究结果表明,水源和季节对大象取食没有影响。研究还发现,奎武里没有可以免受大象取食的区域,导致该地区目前的局势严峻且不可持续。因此,我们建议通过更好地协调利益相关方,制定行动计划,来改进缓解措施,包括评估种植大象不喜食作物的可行性。 สรุปภาษาธรรมดา ปัญหาระหว่างคนกับช้าง เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการอนุรักษ์ช้างป่าและชีวิตการเป็นอยู่ของคนในชุมชน คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาถึงปัจจัยเชิงพื้นที่และเวลาที่อาจจะส่งผลถึงการบุกรุกของช้างป่าในพื้นที่ชุมชนของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ โดยการศึกษาถึงพื้นที่ที่ช้างป่าบุกรุกและปัจจัยเชิงสิ่งแวดล้อมพร้อมทั้งประเภทของพืชและระยะเจริญเติบโตของพืช พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบส่วนใหญ่อยู่ในไร่สับปะรด แต่จากการวิเคราะห์ได้พบว่าสวนผลไม้ (มะม่วง ขนุน กล้วย) เป็นชนิดพันธุ์พืชที่ได้รับผลกระทบจากการบุกรุกมากที่สุดจากช้างป่า จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าพื้นที่ที่ปลอดภัยจากการบุกรุกของช้างป่าในพื้นที่เขตพื้นที่ชุมชนรอบอุทยานแห่งชาติกุยบุรีมีปริมาณจำกัด ซึ่งทำให้พื้นที่การใช้ประโยชน์ในชุมชนทั้งหมดอยู่ในสภาวะที่มีความเสี่ยงต่อการบุกรุกของช้างป่าสูง Practitioner points We aimed to identify factors influencing elephant crop raiding in Kuiburi, Thailand, a landscape suffering intense human−elephant conflict (HEC). Pineapple and orchards were identified as elephant's prefered crops; elephants were willing to travel more than 2 km from the forest edge to consume them. HEC was prevalent throughout the landscape, with no “safe zone” out of elephant reach. There is a need to improve HEC mitigation in Kuiburi and other similar landscapes. We recommend developing an action plan that promotes stakeholder collaboration to implement effective mitigation measures. We suggest to conduct a market‐based assessment to identify crops that are less preferred by elephants while considering the limited landscape and well‐being of locals in the area. 实践者要点 泰国奎武里地区正面临严重的人象冲突,本文旨在研究影响该地区大象取食作物的因素。结果发现菠萝和果园种植的水果(芒果、菠萝蜜和香蕉)是大象偏好的作物;大象愿意离开森林边缘两公里以上来取食这些作物。人象冲突在整个奎武里地区广泛存在,没有可以躲避大象的“安全区域”。 需要改进奎武里及其他类似地区的缓解措施。我们建议制定行动计划,促进利益相关者的合作,实施有效的冲突缓解措施。 我们建议在考虑地区有限景观和当地居民福祉的同时,进行市场评估,来确定大象不喜食的作物。 ผู้ปฏิบัติชี้ ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ในการจำแนกปัจจัยที่ส่งผลต่อการบุกรุกของช้างป่าในพื้นที่เกษตรกรรมรอบอุทยานแห่งชาติกุยบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งได้รับผลกระทบอย่างมากจากปัญหาช้างป่าบุกรุกพื้นที่ คณะผู้วิจัยได้พบว่าแปลงสับปะรดและสวนผลไม้เป็นพืชผลที่ช้างป่ากินและทำลายมากที่สุด โดยช้างเดินทางมากกว่าสองกิโลเมตรจากป่าเพื่อไปกินพืชผลเหล่านี้ การบุกรุกของช้างป่าสามารถพบได้ทุกที่ซึ่งทำให้พื้นที่ปลอดภัยจากการบุกรุกของช้างป่ามีปริมาณจำกัด การพัฒนาและเพิ่มการประสานงานระหว่างชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ในการเพิ่มความสามารถการป้องกันช้างป่าในพื้นที่ เป็นวิธีการบรรเทาปัญหาเบื้องต้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันปัญหาช้างป่าในพื้นที่กุยบุรี และเพื่อเป้าหมายในการจัดการระยะยาวเพื่อการอยู่ร่วมกันของคนและช้างป่า การสำรวจถึงประสิทธิภาพวิธีการบรรเทาปัญหาในรูปแบบต่างๆหรือการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงพืชผลการเกษตรเพื่อลดปัญหาช้างป่าในระยะยาว อาจมีความจำเป็นเพื่อลดสภาวะที่มีความเสี่ยงสูงของการบุกรุกเช่นในปัจจุบัน ซึ่งการวางแผนควรคำนึงถึงข้อจำกัดที่เกิดขึ้นในบริบทพื้นที่และเวลา ตลอดจนปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อความเสี่ยงในการเกิดผลกระทบระหว่างคนกับช้างป่า |
DOI | https://onlinelibrary.wiley.com/doi/pdfdirect/10.1002/inc3.23 |
Citation statistics | |
Document Type | 期刊论文 |
Identifier | https://ir.xtbg.ac.cn/handle/353005/14377 |
Collection | Integrative Conservation |
Affiliation | 1.Kochprapa, Poldej (School of Bioresources & Technology, King Mongkut's University of Technology, Conservation Ecology Program, Bangkok, Thailand) 2.Savini, Chution (Department of Hospitality and Tourism Management, International College of Sustainability Studies (SWUIC), Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand) 3.Ngoprasert, Dusit (School of Bioresources & Technology, King Mongkut's University of Technology, Conservation Ecology Program, Bangkok, Thailand) 4.Savini, Tommaso (School of Bioresources & Technology, King Mongkut's University of Technology, Conservation Ecology Program, Bangkok, Thailand) 5.Gale, George A. (School of Bioresources & Technology, King Mongkut's University of Technology, Conservation Ecology Program, Bangkok, Thailand) |
Recommended Citation GB/T 7714 | Kochprapa, Poldej,Savini, Chution,Ngoprasert, Dusit,等. Spatio‐temporal dynamics of human−elephant conflict in a valley of pineapple plantations[J]. Integrative Conservation,2023,2(2):95-107. |
APA | Kochprapa, Poldej,Savini, Chution,Ngoprasert, Dusit,Savini, Tommaso,&Gale, George A..(2023).Spatio‐temporal dynamics of human−elephant conflict in a valley of pineapple plantations.Integrative Conservation,2(2),95-107. |
MLA | Kochprapa, Poldej,et al."Spatio‐temporal dynamics of human−elephant conflict in a valley of pineapple plantations".Integrative Conservation 2.2(2023):95-107. |
Files in This Item: | Download All | |||||
File Name/Size | DocType | Version | Access | License | ||
Spatio‐temporal dyna(2062KB) | 期刊论文 | 出版稿 | 开放获取 | CC BY-NC-SA | View Download |
Items in the repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
Edit Comment